วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

อิสรภาพ

ไม่มีอะไรเป็นเครื่องหมายบอกได้ชัดเจนว่า มนุษย์มีการยอมรับหรือเคารพสิทธิมนุษยชนกันมามากน้อยแค่ไหน แต่สิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็นก็คือ การแสวงหาอิสรภาพของมนุษย์ในด้านใดด้านหนึ่ง อ่านเพิ่มเติม

สิทธิมนุษย์ชน

สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเอง อ่านเพิ่มเติม

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council – UNSC) มีสมาชิก 15 ประเทศ ประกอบไปด้วยสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกถาวร 5 ประเทศ (สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส จีน และรัสเซีย) และสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปี และไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งซ้ำได้ในทันทีเมื่อหมดวาระ
1.2 การเลือกตั้งสมาชิกไม่ถาวรของ UNSC แบ่งตามกลุ่มภูมิภาค 5 กลุ่ม อ่านเพิ่มเติม

องทุนสหประชาชาติเพื่อประชากร-ยูเอ็น เอฟพีเอ (United Nations Population Fund UNFPA)

 กองทุนนี้ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๕๑๒ (ค.ศ. ๑๙๖๙) เพื่อช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนาในด้านการวางแผนประชากร และเพื่อบริหารทรัพยากรที่ต้องใช้ในการให้ความร่วมมือทางวิชาการด้านประชากรศาสตร์  กองทุนนี้ได้สนับสนุนกิจกรรมด้านประชากรให้แก่ประเทศต่างๆ  ถึง ๑๔๐ ประเทศตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๒ จนถึง พ.ศ. ๒๕๓๖ได้จ่ายเงินอุดหนุนไปแล้วถึง ๙๐๐ ล้านเหรียญ สหรัฐ ร้อยละ ๖๐ ของเงินจำนวนนี้เป็นค่าใช้จ่ายในการวางแผนครอบครัว ขณะนี้กองทุนช่วยเหลือด้านประชากรนับว่าเป็นกองทุนสหประชาชาติที่ใหญ่ที่สุด อ่านเพิ่มเติม

กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ

กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (อังกฤษ: United Nations Children's Fund - UNICEF) เป็นหน่วยงานของสหประชาชาติเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม, พัฒนาการ, สุขภาพรวมถึงความเป็นอยู่ของเด็กและแม่ในประเทศกำลังพัฒนา ก่อตั้งโดยสมัชชาสามัญแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ด้วยชื่อในขณะนั้นว่า United Nations International Children's Emergency Fund หรือ กองทุนฉุกเฉินสำหรับเด็กแห่งสหประชาชาติ อ่านเพิ่มเติม

ชาดก

คำว่า ชาตก หรือ ชาดก แปลว่า ผู้เกิด มีรากคำมาจากธาตุ (Root) ว่า ชนฺ แปลว่า “เกิด” แปลง ชนฺ ธาตุเป็นชา ลง ต ปัจจัยในกิริยากิตก์ ต ปัจจัยตัวนี้กำหนดให้แปลว่า “แล้ว” มีรูปคำเป็น “ชาต” แปลว่า เกิดแล้ว เสร็จแล้วให้ลง ก ปัจจัยต่อท้ายอีกสำเร็จรูปเป็น “ชาดก” อ่านออกเสียงตามบาลีสันสกฤตว่า “ชา-ตะ-กะ” แปลว่าผู้เกิดแล้ว เมื่อนำคำนี้มาใช้ในภาษาไทย เราออกเสียงเป็น ชาดก โดยแปลง ต เป็น ด และให้ ก เป็นตัวสะกดในแม่กก
ในความหมาย คือเล่าถึงการที่พระโพธิสัตว์เวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้าง แต่ก็ได้พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่า เรื่องชาดก เป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า แต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้น สาระสำคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้น ๆ อ่านเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์ ไทย - เยอรมัน

ไทยมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับรัฐอิสระของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมายาวนาน โดยเมื่อปี 2401ไทยได้ทำสนธิสัญญาทางไมตรี การค้า และการเดินเรือกับ 3 รัฐอิสระของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Treaty of Friendship, Commerce and Navigation between the Kingdom of Siam and the Hanseatic Republics) ซึ่งได้แก่ ลือเบค (Lübeck) เบรเมน (Bremen) และฮัมบูร์ก (Hamburg) และเมื่อปี 2551 ถือเป็นการครบรอบ 150 ปีแห่งความสัมพันธ์ทางการค้า อ่านเพิ่มเติม